รางวัลตุ๊กตาทอง ประจำปี พ.ศ. 2503
รางวัลตุ๊กตาทอง ประจำปี พ.ศ. 2503
มีภาพยนตร์ส่งเข้าประกวด 28 เรื่อง ภาพยนตร์สารคดี 14 เรื่อง โดยสมาคมโรงภาพยนตร์แห่งประเทศไทย ประหลาท อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานจัดงาน พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเปรม บุรฉัตร ประธานกรรมการตัดสิน ประกาศผลอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2504 ณ เวที ลีลาศสวนลุมพินี
รางวัลตุ๊กตาทอง
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม มือโจร
- ผู้แสดงนําฝ่ายชายยอดเยี่ยม จิตกร สุนทรปักษิณ (เด็กเสเพล)
- ผู้แสดงนําฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม สมจิต ทรัพย์สํารวย (ค่าน้ำนม)
- ผู้แสดงประกอบชายยอดเยี่ยม ประจวบ ฤกษ์ยามดี (มือโจร)
- ผู้แสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม ภาวนา ชนะจิต (แสงสูรย์)
- ผู้กํากับการแสดงยอดเยี่ยม วิชัย ปาลวัฒน์วิไชย (ยอดพยศ)
- บทประพันธ์ยอดเยี่ยม “พนมเทียน” (เด็กเสเพล)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ประทีป โกมลภิส (ผู้ยิ่งใหญ่ทั้งเก้า)
- รางวัลถ่ายภาพ (16ม.ม.) ไพรัช สังวริบุตร (แสงสูรย์)
- รางวัลลําดับภาพ สมศักดิ์ ประสงค์ผล (ยอดพยศ)
- รางวัลออกแบบและสร้างฉากเฉลิม พันธุ์นิล (สุดชีวิต)
- รางวัลออกแบบเครื่องแต่งกาย มจ.ไกรสิงห์ วุฒิชัย (ดวงใจที่รัก)
- รางวัลเพลงประกอบดีเยี่ยม ฉลอง ปราณี ประชาชน (มือโจร)
รางวัลตุ๊กตาเงิน
- รางวัลพิเศษสําหรับผู้ถ่ายภาพเทคนิคยอดเยี่ยม ปานเทพ กุยโกมุท
(ยอดชายชาตรี) - ผู้แสดงยอดเยี่ยมสําหรับเด็ก ปนัดดา กัลยจาฤก (ผีพยาบาท)
- ผู้แสดงสมัครเล่น ร.ต.ต.อุทัย ชาญธวัช (สามพราน)
รางวัลประเภทภาพยนตร์สารคดี
- การพากย์ภาพยนตร์สารคดี พ.ต.บัลลังก์ ขมะสุนทร และ ศรีนวล แก้วบัวสาย (นิราศพระบาท)
- ถ่ายภาพสารคดี เสนาะ แย้มกสิกร (ชีวิต)
- ผู้อํานวยการแสดง ภาพยนตร์สารคดี ประพัฒน์ แสงวนิช (Welcome to Bangkok)
- บทภาพยนตร์ สารคดี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล (15นาทีในอินเดีย)
- ภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม 15 นาทีในอินเดีย